เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
ประกอบด้วย เทคโนโลยี,สารสนเทศ เเละการสื่อสาร
เทคโนโลยี(technology) การนำความรู้หรือวิทยาการทางด้านวิทยศาสตร์มาประยุกต์ใน การพัฒาเครื่องมือ เครื่องจักรหรือเเม้กระทั่งสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้
สารสนเทศ (information) ข้อมูล ข้อเท็จจริง ความคิดหรือประสบการณ์ต่างๆที่ผ่านกระบวนการประมวลผลอย่างมีระบบ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ความต้องการ
การสื่อสาร (communication) การส่งข้อมูลข่าวสารโดยอาศัยสื่อเป็นตัวกลาง จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง
บทที่1 เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
1.1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
ประกอบด้วย เทคโนโลยี,สารสนเทศ เเละการสื่อสาร
เทคโนโลยี(technology) การนำความรู้หรือวิทยาการทางด้านวิทยศาสตร์มาประยุกต์ใน การพัฒาเครื่องมือ เครื่องจักรหรือเเม้กระทั่งสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้
สารสนเทศ (information) ข้อมูล ข้อเท็จจริง ความคิดหรือประสบการณ์ต่างๆที่ผ่านกระบวนการประมวลผลอย่างมีระบบ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ความต้องการ
การสื่อสาร (communication) การส่งข้อมูลข่าวสารโดยอาศัยสื่อเป็นตัวกลาง จากบุคคลหนึ่งหรือสถานที่หนึ่งไปยังบุคคลหนึ่งหรืออีกสถานที่หนึ่ง

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology: IT) มาจากคำว่า เทคโนโลยี กับ สารสนเทศ เชื่อมต่อกัน ซึ่งหมายถึง การนำความรู้หรือวิทยาการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ เพื่อจัดการกับข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร ( Information and Communication Technology: ICT) เมื่อนำคำทั้งสามมาเชื่อต่อกันจะมีความหมาย คือการนำเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้งานร่วมกับเทคโนโลยีการสื่อสารเเละโทรคมนาคม เพื่อผลิต เเผ่เผยเเละจัดเก็บสื่อสารสนเทศในรูปเเบบต่างๆ

เป็นระบบที่ช่วยในการรวบรวม จัดเก็บเเละจัดการข้อมูลต่างๆอย่างเป็นระบบ มี 5 ส่วนสำคัญคือ
1.ฮาร์ดเเวร์ (hardware) เป็นเครื่องมือที่ใช้จัดการกับสารสนเทศ ทั้งที่เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์้เเละอุปกรณ์ต่อพ่วงต่างๆ ซึ่งนับว่าเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของระบบสารสนเทศ เนื่องจากสมารถทำงานได้เร็ว

2.ซอฟต์เเวร์ (software ) เป็นโปรเเกรมหรือชุดคำสั่งที่สั่งให้คอมพิวเตอร์เเละอุปกรณ์ต่อพ่วงๆ ทำงานตามคำสั่งของผู้ใช้ภายใต้ขอบเขตที่คอมพิวเตอร์หรือโปรเเกรมนั้นๆ เเบ่งได้2 ประเภทใหญ่ๆ
- ซอฟต์เเวร์ระบบ เป็นชุดคำสั่งที่มีหน้าที่ควบคุมการทำงานอุปกรณ์เเละซอฟต์เเวร์ทั้งหมดภายในคอมพิวเตอร์
- ซอฟต์เเวร์ประยุกต์ เป็นชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อประยุต์ใช้กับงานตามความต้องการของผู้ใช้
3.ข้อมูล (data ) ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความสมบุรณ์ ถูกต้อง เเม่นยำ เเละเชื่อถือได้ โดยจะรวบรวมเเละป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด เป็นต้น
4.บุคลากร ( people) ต้องมีความรู้เเละความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์โดยเเบ่งออกเป็นผู้พัฒนาเเละผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
5. ขั้นตอนการปฏิบัติ (procedure) ผู้ใช้งานจะต้องปฏิบัติตามระเบียบเเละวิธีการปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ
ส่วนประกอบทั้งห้าล้วนมีส่วนสำคัญ หากขาดส่วนประกอบใดหรือส่วนประกอบใดไม่สมบูรณ์ก็อาจจะทำให้ระบบสารสนเทศนั้นขาดความสมบูรณ์ได้
1.3.ปรโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
1.ด้านการศึกษา ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานการศึกษาเพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น ระบบการลงทะเบียนเเละระบบการจัดตารางการเรียนการสอน เป็นต้น
- ซอฟต์เเวร์ระบบ เป็นชุดคำสั่งที่มีหน้าที่ควบคุมการทำงานอุปกรณ์เเละซอฟต์เเวร์ทั้งหมดภายในคอมพิวเตอร์
- ซอฟต์เเวร์ประยุกต์ เป็นชุดคำสั่งที่เขียนขึ้นเพื่อประยุต์ใช้กับงานตามความต้องการของผู้ใช้
3.ข้อมูล (data ) ข้อมูลที่ดีจะต้องมีความสมบุรณ์ ถูกต้อง เเม่นยำ เเละเชื่อถือได้ โดยจะรวบรวมเเละป้อนเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยอุปกรณ์รับข้อมูลต่างๆ เช่น เมาส์ คีย์บอร์ด เป็นต้น
4.บุคลากร ( people) ต้องมีความรู้เเละความเข้าใจในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์โดยเเบ่งออกเป็นผู้พัฒนาเเละผู้ใช้ระบบสารสนเทศ
5. ขั้นตอนการปฏิบัติ (procedure) ผู้ใช้งานจะต้องปฏิบัติตามระเบียบเเละวิธีการปฏิบัติตามคู่มือการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ได้งานที่มีประสิทธิภาพ
ส่วนประกอบทั้งห้าล้วนมีส่วนสำคัญ หากขาดส่วนประกอบใดหรือส่วนประกอบใดไม่สมบูรณ์ก็อาจจะทำให้ระบบสารสนเทศนั้นขาดความสมบูรณ์ได้
1.3.ปรโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสาร
1.ด้านการศึกษา ใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารงานการศึกษาเพื่อเก็บข้อมูลต่างๆ เช่น ระบบการลงทะเบียนเเละระบบการจัดตารางการเรียนการสอน เป็นต้น

2.ด้านการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลจำนวนมากได้ถูกรวบรวมเเละบันทึกไว้ในรูปของสื่อบันทึกข้อมูลประเภทต่างๆ เช่น ฮาร์ดดิกส์ เเผ่นซีดีรอม ซึ่งสามารถเก็บรวบรวมเอกสารหรือหนังสือต่างๆทั้งหมดไว้เเละนำมาใช้ได้ตลอดเวลา

3.ด้านการสื่อสารเเละโทรคมนาคม มีส่วนสำคัญต่อการใช้ชีวิตของผู้คนในสังคมที่ต้องการมีความสะดวกเเละรวดเร็ว เช่น การหาข้อมูลจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
4.ด้านวิทยาศาสตร์เเละเทคโนโลยี การวิจัยเเละการทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์ล้วนเเล้วเเต่ต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารทั้งสิ้น

5.ด้านความบันเทิง เป็นรูปเเบบการนำเสนอที่ตอบสนองความต้องการทั้งภาพเเละเสียงได้อย่างมีประสิทธิภาพประกอบการเข้าถึงข้อมูลสารสนเทศต่างๆที่สะดวกเเละรวดเร็ว จึงได้รับความนิยมกันอย่างเเพร่หลาย

นอกจากประโยชน์ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเเละการสื่อสารที่กล่าวมานั้นยังมีประโยชน์ด้านอืื่นๆอีกมากมาย เช่น ด้านสิ่งพิมพ์ ด้านการเงินการธนาคาร ด้านความมั่นคง เป็นต้น
1.4 แนวโน้มการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
-เทคโนโลยีแบบไร้สายทำให้ติดต่อกัันสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
-มีการใช้ระบบเสมือนจริงผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ช่วยลดความเหลื่อมล้ำของผู้คนในสัังคม
-อุปกรร์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีขนาดกะทััดรัดและราคาถูก และมีประสิทธิภาพสูง
-การวางแผน การวิเคราะห์ และการตัดสินใจของมนุษย์จะถูกแทนโดยคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือช่วยในการตดสินใจ
-การเข้าถึงข้อมูลที่ง่าย สะดวก และรวดเร็ว ทำให้มีช่องทางในการดำเนินธุรกิจ
-หน่วยงานหรือองค์กรจะมีขนาดเล็กลง จะปรับเปลี่ยนการเชื่อยมโยงเป็นเครือข่ายระหว่างหน่อยงาน

1.5 ผลกระทบจากการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
-มีพฤติกรรมเลียนแบบเกมที่ใช้ความรุนแรง อาจก่อให้เกิดอาชญากรรมได้
-การใช้ชีวิตของสังคมเปลี่ยนไป ทำให้พบปะของผู้คนลดน้อยลง ส่งผลให้ความสัมพันธ์ลดน้อยลง
-เข้าถึงระบบเครือข่ายง่าย สะดวก และรวดเร็ว ก่อให้เกิดโจรกรรมเพิ่มมากขึ้น
-เทคโนโลยีที่ล้ำสมัย ทำให้เกิดการผลิตของผิดกฎหมายและละเมิดลิขสิทธิ์เพิ่มมากขึ้น
-การส่งข้อมูลข่าวสารผ่านช่องทางต่างๆ เช่น e-mail,facebook
-เมื่อเทคโนโลยีมีการพัฒนามากยิ่งขึ้น ก่อให้เกิดขยะอิเล็กทรอนิกส์
1.6 อาชีพที่เกี่ยวข้องกัับเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
-โปรแกรมเมอร์ (programmer) หรือนัักเขียนโปรแกรม ทำหน้าที่เขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
-นัักวิเคราะห์ระบบ (system analyst) ทำหน้าที่ศึกษา วิเคราะห์และพัฒนาระบบสารสนเทศ
-ผู้ดูแลระบบและผู้บริหาร (database administrator) ทำหน้าที่บริหารจัดการฐานข้อมูล
-ผู้ดูแลและบริหารระบบเครือข่าย (network administrator) ทำหน้าที่บริหารจัดการระบบเครือข่ายและดูแลความปลอดภััยระบบเครือข่าย
-ผู้พััฒนาและบริหารระบบเว็บไซต์ (webmaster) ทำหน้าที่ดูและและควบคุมทิศทางของเว็บไซต์
-เจ้าหน้าที่เทคนิค (technician) ทำหน้าที่ดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์


ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น